ให้เริ่มต้นพูดคุยด้วยความห่วงใย สอบถามถึงผลกระทบต่อสุขภาพ หน้าที่การงาน และความสมพันธ์กับคนรอบข้าง โดยจะต้องระมัดระวังว่าเขาอาจไม่ตระหนัก หรือปฏิเสธว่า เขาไม่มีปัญหา และไม่พยายามบังคับให้ผู้ดื่มยอมรับว่ามีปัญหา เพราะจะทำให้เกิดความขัดแย้งได้ พร้อมกับให้กำลังใจในการเปลี่ยนแปลงนิสัยการดื่ม
ผู้ที่มีปัญหาการดื่ม อาจเสี่ยงต่อการทำร้ายผู้อื่น เพราะเมาสุราหรือมีอาการทางจิตจากการใช้สุรา  หรือใช้สุราร่วมกับสารเสพติดอื่น ดังนั้นหากคุณเป็นผู้ที่เสี่ยงต่อการถูกผู้ดื่มทำร้าย คุณควรจัดการกับสถานการณ์ ดังนี้
ถ้าผู้ดื่มคิดทำร้ายตนเอง หรือคิดฆ่าตัวตาย การดื่มสุราจะทำให้ขาดความยับยั้งชั่งใจ เพิ่มโอกาสในการทำร้ายตนเองหรือฆ่าตัวตายสำเร็จในผู้ที่มีความคิดฆ่าตัวตาย ไม่ควรดื่มสุรา แม้ในปริมาณน้อยๆก็ตาม การช่วยเหลือผู้ที่คิดทำร้ายตนเอง หรือฆ่าตัวตาย มีดังนี้
อาการเมาค้างเป็นภาวะจากการที่ร่างกายขาดน้ำ ซึ่งเป็นผลจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณที่มากเกินกว่าร่างกายจะสามารถรับได้ ส่งผลให้เกิดการเสียสมดุลของระบบสารต่างๆในร่างกาย
ผู้ดื่มที่ต้องการความช่วยเหลือทางการแพทย์อย่างเร่งด่วน คือผู้ที่มีลักษณะอาการดังต่อไปนี้
การพบว่าคนในครอบครัว หรือคนที่เรารักติดสุราเป็นสิ่งที่ทรมานใจ หลายคนอยากที่จะเข้าไปช่วยเหลือ แต่ก็ถูกผู้ดื่มปฏิเสธกลับมา อีกทั้งผู้ดื่มยังแสดงท่าทีไม่สนใจหรือใส่ใจในความพยายามที่จะช่วยเหลือของเรา แต่กลับผลักใสความหวังดีของเราและต่อต้าน
ศุนย์ปรึกษาปัญหาสุราทางโทรศัพท์ (Alcohol Helpline Center)
สำนักงาน ชั้น 1 ศูนย์จิตเวชศาสตร์การเสพติด กองจิตเวชและประสาทวิทยา โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
เลขที่ 315 ถ.ราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม.10400
ต้องการวิทยากรติดต่อ อ.ธวัชชัย กุศล 0879959501
โทรศัพท์ : 02-354-8360, มือถือ : , โทรสาร : 02-354-5190 อีเมล์ : info@1413.in.th, เว็บไซต์ www.1413.in.th